Category Archives: เครื่องยนต์

odb toyota 1

17 pin Toyota proprietary connector layout obd

 

Pin
Description (may be empty)
TE1 Engine self-diagnostic codes
E1 Engine self-diagnostic codes. E1 is the common ground for the Ecu’s self diagnosis when atec wants to access trouble codes on OBD1 toyota cars
W Engine self-diagnostic codes. W is aself diagnosis for the warning light circuit inside the vehicle gray cover underhood connecter by using the gamper wire to check weather the warning and the check engine lamp and wiring circuit are okay for proper functioning which meanes aself chek for the complete warning circuit integrity for this obd 1

23 pin Toyota proprietary connector layout

 

 

Pin
Description (may be empty)
FP Fuel pump voltage control
W Self-diagnostic codes (Check engine light)
E1 Ground
Ox Lambda sensor out voltage control
TE Engine self-diagnostic codes
Te1 Engine self-diagnostic codes
Te2 Engine self-diagnostic codes
CC2 Second lambda sensor diagnostic
Tc ABS, traction control, Hight Control and other system diagnostic codes
OP2 Diagnostic K-Line
+B +12V
VF1 Vf-feedback voltage
VF2 Vf-feedback voltage for second lambda sensor
Ox2 Second Lambda sensor out voltage control
Ts ABS speed sensor and traction control diagnostic codes
Tt Automatic transmission diagnostic codes
OP3 Diagnostic L-line
TD air-powered suspension turn off (LS400)
T Engine self-diagnostic codes
OP1 Immobilizer self-diagnostic codes
IG- Ignition Pulse output

 

16 pin J1962 OBD-2 car proprietary connector layout
Pin Signal Description
2 J1850 Bus+
4 CGND Chassis ground
5 SGND Signal ground
6 CAN High J-2284
7 K-LINE (ISO 9141-2 and ISO/DIS 14230-4)
10 J1850 Bus-
13 TC Timing check – ignition advance angle adjustment or ABS slow codes out
14 CAN Low J-2284
15 ISO 9141-2 L-LINE (ISO 9141-2 and ISO/DIS 14230-4)
16 +12v Battery power
copy form pinouts.ru

 

 

bible of obd pin out

 

In the bus, the bushing is for the connection at the Boardcomputer in the Lenksule about 30cm beneath the steering wheel behind a simple plastic lid. Flight the dimensions determines can go off and then it: I decided on a simple solution, with which material costs in height occur of  2.51. For that one can do handicrafts then to be sure theoretically 10 connectors, for it gives the components only in the 50er bag.

Pin
Pin name Description
1 NC
2 J1850 bus +
3 NC
4 Vehicle mass
5 Signal mass
6 CAN High (J-2284)
7 ISO 9141-2 K exit
8 NC
9 NC
10 J1850 bus
11
12
13
14 CAN Low (J-2284)
15 ISO 9141-2 L exit
16 Battery-tension + 12V

 

Is my vehicle equipped with OBD-2?

On Board Diagnostics, OBD-II, is required on all automobiles and light trucks in the United States from 1996 onward. OBD-II is a set of specifications for monitoring and reporting on engine performance in modern automobiles. Diesel (compression ignition) vehicles were not required to support OBD until 2004. Some pre-2001 petrol vehicles and pre-2004 diesel vehicles have a 16-pin connectors but they may not be OBD-II or EOBD compliant.

Where is an OBD-2 connector?

Locating your OBD connector can be a difficult task as vehicle manufacturers tend to hide away the socket. Usually OBD-2 connector is located on the driver’s side of the passenger compartment near the center console. Sometimes it’s located in the driver’s foot well, under the steering wheel, behind panels in the dashboard fascia and the central area between the driver’s seat and the passenger seat. Some connectors have been located behind ashtrays, under the passenger seat and even over by the passengers door.

OBD-2 connector must have pins 4, 5 for ground connections and pin 16 for 12 volt power supply from the vehicle battery. 

What is OBD DTC?

Prior to OBD, auto manufacturers did not standardize DTC’s (diagnostic trouble code). OBD-I begins standardized DTC’s OBD-II adds specific tests to determine the vehicles emission performance OBD-III adds more features, and is in the regulatory development phase.

If the vehicle’s onboard diagnostic system detects a malfunction, a DTC corresponding to the malfunction is stored in the vehicle’s computer, as well as realtime data from the sensors connected to the on-board computer. In addition, the OBD-II interface provides a means to clear the DTC’s once maintenance has been completed. A service technician can retrieve the DTC, using a scan tool, and take appropriate action to resolve the malfunction. Prior to the advent of digital powertrain control modules, which is the technical enabler for the OBD feature, repairing a vehicle relied solely upon the technicians skill and service literature from the auto manufacturer.

OBD-II connector specifications

The OBD-II specification provides for a standartized hardware interface – the female 16-pin (2×8) J1962 connector. Unlike the OBD-I connector, which was found under the hood of the vehicle, theOBD-II connector is located on the driver’s side of the passenger compartment near the center console.

Pin Signal Description
2 J1850 Bus+
4 CGND GND
5 SGND GND
6 CAN High J-2284
7 ISO 9141-2 K-LINE Tx/Rx
10 J1850 Bus-
14 CAN Low J-2284
15 ISO 9141-2 L-LINE Tx/Rx
16 +12v Battery power

There are five protocols in use with the OBD-II interface, and often it is possible to make an educated guess about the protocol in use based on which pins are present on the J1962 connector:

OBD-2 protocols

SAE J1850 PWM (41.6 kbaud, standard of the Ford Motor Company)
pin 2: Bus-
pin 10: Bus+
High voltage is +5V
Message length is restricted to 12 bytes, including CRC Employs a multi-master arbitration scheme called Carrier Sense Multiple Access with Non-Destructive Arbitration (CSMA/NDA)

SAE J1850 VPW (Variable Pulse Width) (10.4/41.6 kbaud, standard of General Motors) 
pin 2: Bus+
Bus idles low
High voltage is +7V
Decision point is +3.5V
Message length is restricted to 12 bytes, including CRC Employs CSMA/NDA

ISO 9141-2. This protocol has a data rate of 10.4 kbaud, and is similar to RS-232. 
ISO 9141-2 is primarily used in Chrysler, European, and Asian vehicles. 
pin 7: K-line
pin 15: L-line (optional)
UART signaling (though not RS-232 voltage levels)
K-line idles high
High voltage is Vbatt
Message length is restricted to 12 bytes, including CRC

ISO 14230 KWP2000 (Keyword Protocol 2000) used by most European and Asian manufacturers. 
Alfa Romeo, Audi, BMW, Citroen, Fiat, Honda, Hyundai, Jaguar (X300, XK), Jeep since 2004, Kia, Land Rover, Mazda, Mercedes, Mitsubishi, Nissan, Peugeot, Renault, Saab, Skoda, Subaru, Toyota, Vauxhall, Volkswagen (VW) since 2001, Volvo to 2004
pin 7: K-line
pin 15: L-line (optional)
Physical layer identical to ISO 9141-2
Data rate 1.2 to 10.4 kbaud
Message may contain up to 255 bytes in the data field

ISO 15765 CAN (250kbit/sec or 500kbit/sec) 
pin 6: CAN High
pin 14: CAN Low
Used in most modern vehicles.

Note that pins 4 (battery ground) and 16 (battery positive) are present in all configurations. Also, ISO 9141 and ISO 14230 use the same pinout, thus you cannot distinguish between the two simply by examining the connector.

OBD-II CAN bus

CAN bus used in Ford, Mazda, Volvo and most other cars since 2004. The CAN protocol is a popular standard outside of the automotive industry and is making significant in-roads into the OBD-II market share. By 2008, all vehicles sold in the US will be required to implement the CAN bus, thus eliminating the ambiguity of the existing five signalling protocols.

The CAN bus is simply a pair of wires, often twisted around each other, running around the vehicle and terminated at either end of the two-wire network with resistors of 120 Ohms. The only components connected to the CAN bus are the electronic control units (nodes). Other components, such as sensors, motors, light bulbs, switches, etc. are wired only to the electronic control units. Some vehicles have a CAN bus system along side the ISO/KWP2000 system. A vehicle which uses CAN bus for on-board diagnostics can only respond to an OBD-II request from a tester which uses CAN bus. From model year 2008 vehicle manufacturers must use the OBD protocol specified in ISO 15765, also known as Diagnostics On CAN.

Two wires of CAN bus, CAN-H and CAN-L, will have the same voltage when idle (about 2.5V), or a voltage difference of 2V when a signal is placed on the CAN bus. When a signal is placed on the CAN bus the CAN-H line is at a higher voltage than the CAN-L line. Each electronic control unit have its own CAN identity code, like an address (may respond to several CAN id codes). If an electronic control unit is to communicate to another it will need to know the CAN identity code of the recipient.

A simple check to see if the CAN bus is in use in a vehicle, and accessible via the OBD socket, is to connect a resistance meter across pin 6 and pin 14. Due to the combined resistance of the two termination resistors at 120 Ohms each the overall resistance should be read as 60 Ohms.

OBD-II provides access to numerous data from the ECU and offers a valuable source of information when troubleshooting problems inside a vehicle. The SAE J1979 standard defines a method for requesting various diagnostic data and a list of standard parameters that might be available from the ECU. The various parameters that are available are addressed by parameter identification numbers or PIDs which are defined in J1979. For a list of basic PIDs, their definitions, and the formula to convert raw OBD-II output to meaningful diagnostic units, see OBD-II PIDs.

Here are some schemes of OBD-II diagnostic cables


CAN-bus was designed for automotive applications but is also used in other areas. The protocol was officially released in 1986 by the Society of Automotive Engineers (SAE). CAN become become most available OBD standard for vehicles produced after 2007 yrs.

A modern automobile may have up to 50 electronic control units (ECU) for various subsystems. Usually the biggest processor is the engine control unit, others are used for transmission, airbags, antilock braking, cruise control, audio systems, windows, doors, mirror adjustment, etc. Some of these form independent subsystems, but communications among others are essential. The CAN standard was devised to fill this need. CAN is a multi-master broadcast serial bus standard for connecting electronic control units (ECUs).

The CAN bus may be used in vehicles to connect engine control unit and transmission, or (on a different bus) to connect the door locks, climate control, seat control, etc. Today the CAN bus is also used as a fieldbus in general automation environments.

The devices that are connected by a CAN network are typically sensors, actuators and control devices. A CAN message never reaches these devices directly, but instead a host-processor and a CAN Controller is needed between these devices and the bus.

The CAN data link layer protocol is standardized in ISO 11898-1 (2003). 

There are several CAN physical layer standards:
ISO 11898-1: CAN Data Link Layer and Physical Signalling
ISO 11898-2: CAN High-Speed Medium Access Unit (uses a two-wire balanced signaling scheme. It is the most used physical layer in car powertrain applications and industrial control networks)
ISO 11898-3: CAN Low-Speed, Fault-Tolerant, Medium-Dependent Interface
ISO 11898-4: CAN Time-Triggered Communication (standard defines the time-triggered communication on CAN (TTCAN). It is based on the CAN data link layer protocol providing a system clock for the scheduling of messages)
ISO 11898-5: CAN High-Speed Medium Access Unit with Low-Power Mode
ISO 11992-1: CAN fault-tolerant for truck/trailer communication
ISO 11783-2: 250 kbit/s, Agricultural Standard – uses four unshielded twisted wires; two for CAN and two for terminating bias circuit (TBC) power and ground. This bus is used on agricultural tractors. This bus is intended to provide interconnectivity with any implementation adhering to the standard.
SAE J1939-11: 250 kbit/s, Shielded Twisted Pair (STP) – standard uses a two-wire twisted pair, -11 has a shield around the pair while -15 does not. SAE 1939 is widely used in agricultural & construction equipment
SAE J1939-15: 250 kbit/s, UnShielded Twisted Pair (UTP) (reduced layer)
SAE J2411: Single-wire CAN (SWC)

CAN-bus usually accessed via 6 and 14 pin of OBD II connector

OBD 2 CAN pinout

 

 

Pin Signal Description
4 CGND GND
5 SGND GND
6 CAN High
14 CAN Low
16 +12v Battery power

 


 

 

Here are some schemes of OBD-II diagnostic cables

 

oxygen sensor wide band

เซ็นเซอร์ Lambda (3 ส่วน)
February, 2008. การทดสอบ 5 ขาเซ็นเซอร์ th และไม่ติดมัน

ส่วนผสมหลักของการดำเนินการและรายละเอียดของการทดสอบเซ็นเซอร์น้ำมันเชื้อเพลิงอากาศ

ดังที่ระบุไว้แล้ว เซ็นเซอร์ออกซิเจนแบบเดิม มีข้อ จำกัด สำหรับการใช้งานเช่นที่พวกเขาไม่อนุญาตให้ใช้ในการบำรุงรักษาของ – ผสมน้ำมันเชื้อเพลิงในอากาศ) ช่วงทางทฤษฎีของของผสม (14,7:1 กับ การพัฒนาของการออกแบบเครื่องมือและการเสริมขีดความสามารถของพวกเขาต้องการ กระชับสำหรับเนื้อหาของสารที่เป็นอันตรายในแก๊สไอเสียก็เป็นที่จำเป็นในการ กำหนดขึ้นอย่างถูกต้องผสมส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศ

เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของสารผสมของอยู่ในช่วงของ 12:01 (อุดม”ผสม”) เพื่อ 23:01 (“ไม่ดี”) HONDA (ไม่เท่านั้น) ตรงกันข้ามกับโตโยต้าคือการใช้เซ็นเซอร์ออกซิเจน ผสมเซ็นเซอร์แบบลีนที่เรียกว่า (LAF – Sensor) หน่วย ควบคุม (ECM) ใช้สัญญาณของเซ็นเซอร์นี้พร้อมกับข้อมูลในการหมุนเพลาข้อเหวี่ยง, ตำแหน่งของเพลาข้อเหวี่ยงและ camshafts, ตำแหน่งปีก, โหลด, อุณหภูมิ, การรักษาเสถียรภาพของเครื่องยนต์ภายใต้ส่วนผสมลีนที่ 2,500-3,200 รอบต่อนาที (ขึ้นอยู่กับ ตำแหน่งปีกผีเสื้อและโหลด) เซ็นเซอร์ดังกล่าวจะใช้ในการ Civic VX 1992-1995 ปี., Civic HX 1996-1998 ปี และเครื่องยนต์ VTEC – E นอกจากนี้ยังมีการใช้ในยุโรปบางรุ่นของ VAG

เซ็นเซอร์ LAF มีลักษณะคล้ายกับ O2 แบบเดิม (ออกซิเจน) เซ็นเซอร์, ยกเว้นว่าจะมีการเชื่อมต่อจำนวนbόlshimของสาย เซ็นเซอร์เหล่านี้ผลิตที่รู้จักกันดี บริษัท บ๊อช, NGK, HJS, และอื่น ๆ LAF – Sensor ฮอนด้าจะซับซ้อนมากขึ้นกว่าปกติเซ็นเซอร์ ถึงแม้ว่าจะใช้เซ็นเซอร์ตามกันไปเกือบสองออกซิเจนมาตรฐานการทำงานค่อนข้างแตกต่างกัน

บรรยากาศมีประมาณ 21% ออกซิเจน ในเครื่องยนต์เบนซินแก๊สไอเสียประมาณ 1-2% ในการตรวจจับแบบเดิมเนื่องจากความเข้มข้นแตกต่างกันของ, ย้ายออกซิเจนไอออนในอิเล็กโทร ZrO2 ของแข็งและสร้างความแตกต่างที่อาจเกิดขึ้น มากขึ้นความแตกต่างของความเข้มข้นของออกซิเจนในบรรยากาศและไอเสียก๊าซมากขึ้นแรงดันไฟออก แรงดันไฟฟ้านี้จะจ่ายให้กับผสม ECU ที่ช่วยให้คุณสามารถปรับ

LAF เซ็นเซอร์ออกซิเจนแบบมีลักษณะภายนอกไม่เพียง แต่ยังมีบางอย่างภายใน ดังแสดงในรูปที่ 1 เป็นจริง”เก็บ”จากสองเซ็นเซอร์แบบธรรมดา (1 และ 2) ด้านนอกของหัววัดเซ็นเซอร์ 1 ตั้งอยู่ในการไหลของก๊าซไอเสียและด้านในของตนในการติดต่อไม่ได้อยู่กับบรรยากาศและหอกระจาย

ต่อมาเราจะเห็นว่า ECM ควบคุมความเข้มข้นของออกซิเจนในนั้น Sensor 2 วาง”หลัง”เซ็นเซอร์ 1 และด้านนอกของมันจะสร้างช่องรั่วระหว่างสองเซ็นเซอร์ การตกแต่งภายในของ 2 เซ็นเซอร์ในบรรยากาศ ติดต่อนอก 1 เซ็นเซอร์ต่อเข้ากับ ECM และจะเรียกว่า) ทางเข้าเซลล์เพื่อแรงดันไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าเซลล์ (รับเข้า แรงดันเอาท์พุทนี้จะถูกสร้างขึ้นซึ่งเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของออกซิเจนในความแตกต่างในแก๊สไอเสียและช่องการแพร่ ห้องการแพร่ไม่ได้อยู่ในการติดต่อกับบรรยากาศ แต่คอมพิวเตอร์การจัดการเครื่องยนต์อาจปรับเปลี่ยนปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในนั้น

ติดต่อที่สอง (แรงดันอ้างอิง) สามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่ชั้นในของ 1 เซ็นเซอร์และ 2 นอกเซ็นเซอร์ของ PC PIN นี้ให้แรงดันอ้างอิง V 2.7 เมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ลบ

การ ติดต่อของ บริษัท — จาก 2 นอกของเซ็นเซอร์จะใช้ในการควบคุมทิศทางของออกซิเจน”เลื้อย”ของ — ในห้องการแพร่หรือจาก (ปั๊มควบคุมเซลล์)

การจัดการ LAF เซ็นเซอร์

เนื่อง จาก ECM ควบคุมปริมาณออกซิเจนในห้องแพร่, เซ็นเซอร์ LAF การผสมส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศในหลากหลาย (ในรูปที่ 2. บล็อกไดอะแกรมของเซนเซอร์) ในกรณีนี้มันจะตรวจสอบแรงดันขาออกของ 1 เซ็นเซอร์ซึ่งจะคล้ายกับออกซิเจนเซ็นเซอร์แบบดั้งเดิมผลิตแรงดันไฟฟ้าจะแปร ผกผันกับความแตกต่างในความเข้มข้นของออกซิเจนจากขั้วไฟฟ้า การควบคุมปริมาณออกซิเจนในห้องแพร่, ECM พยายามที่จะรักษา”ติดต่อออกเซ็นเซอร์ 1 แรงดันไฟฟ้าเป็น 0.45 V.

ทั้ง นี้ขึ้นอยู่กับทิศทางการไหลของกระแสผ่านเซ็นเซอร์ 2 (หน่วยการจัดการที่ติดต่อของเครื่องสูบน้ำ), ออกซิเจนจะถูกย้าย (สูบ) การแพร่กระจายเข้าไปในห้องหรือออกจากมัน เช่นเดียวกับปรากฏการณ์อื่น ๆ อีกมากมายไฟฟ้า, อิออนการเคลื่อนไหวของออกซิเจนเป็นกระบวนการผันกลับได้ ตัวอย่าง เช่นกระแสไฟฟ้าสร้างสนามแม่เหล็กและในทางกลับกันการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิด) การเคลื่อนไหวของอิเล็กตรอนไฟฟ้า (ปัจจุบัน ในการเคลื่อนที่ของไอออนออกซิเจนเซ็นเซอร์ออกซิเจนระหว่างขั้วไฟฟ้าจะสร้างความแตกต่างที่อาจเกิดขึ้น แต่ที่นี่ถ้าแรงดันนำมาใช้กับไฟฟ้าจากแหล่งภายนอกก็จะก่อให้เกิดไอออนการแทนที่ออกซิเจน

หน่วยควบคุมปรับเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้า 2 หัววัดในและจึงจะตรวจสอบไอออนทิศทางของการเคลื่อนไหวของออกซิเจนในห้องแพร่ ในคำอื่น ๆ ก๊าซสมาชิกที่อยู่ในการติดต่อกับไอเสียที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ เซอร์โคเนียมช่องว่างระหว่างองค์ประกอบสองรูปแบบการแพร่ห้อง โดยใช้แรงดันไฟฟ้าสลับไปยังองค์ประกอบการควบคุม, ECM ปรับปริมาณออกซิเจนในห้องแพร่ เพราะมันเป็นองค์ประกอบการอ้างอิงถึงการตรวจวัดก็จะมีผลต่อแรงดันขาออกของ ในกรณีนี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการตรวจสอบเซ็นเซอร์วัดแรงดันไฟฟ้าซึ่งขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงในปริมาณของออกซิเจนในก๊าซไอเสีย และแรงดันไฟฟ้านำมาใช้กับ 0.45 องค์ประกอบที่เพียงพอที่จะออก Aniyah สนับสนุนแรงดันไฟฟ้าของเซ็นเซอร์เท่ากับ V.

จากแรงดันไฟฟ้าขนาดที่ใช้ของถูกกำหนดโดยองค์ประกอบของสารผสมที่เกิดขึ้นจริง ตรงกันข้ามกับออกซิเจนเซ็นเซอร์มาตรฐาน, เซ็นเซอร์แรงดันไฟฟ้าของสามารถเป็นได้ทั้งบวกและลบ แรงดันไฟฟ้าบวกแสดงว่าผสมยากจนและความดันเชิงลบ — ผสมเข้าสู่ระบบเสริมของ ช่วงค่าปกติของการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าประมาณ 1.5 V.

การทำหน้าที่ในการผสมที่อุดมไปด้วย (λ <1)

ให้พิจารณาสถานะของระบบผสมอุดมด้วย ใน รูปส่วนผสมเป็นอุดมแล้วมีการลดลงของปริมาณออกซิเจนในไอเสียก๊าซและเพิ่มการ ไหลของไอออนออกซิเจนออกจากห้องพักการแพร่ (ห้องแพร่) เพื่อระบบระบายอากาศ ซึ่งจะเพิ่มแรงดันขาออกของ 1 เซ็นเซอร์ในลักษณะเดียวกับออกซิเจนเซ็นเซอร์อื่น ๆ ECU ตรวจพบการเพิ่มขึ้นของแรงดันไฟฟ้าที่) เข้าเซลล์ของแรงดัน (แรงดันอินพุทและลดเซลล์) แรงดันไฟฟ้าสูบน้ำที่ปั๊มเซลล์ (เซลล์) เซ็นเซอร์ 2 ญาติตามปกติการอ้างอิงถึงแรงดันไฟฟ้าอ้างอิง (แรงดัน (จริงแรงดันไฟฟ้าจะกลายเป็นติดลบ) นี้จะทำให้ออกซิเจนเซ็นเซอร์ปั๊ม 2 ออกจากห้องพักการแพร่ (แพร่ห้อง) ออกสู่บรรยากาศ เมื่อ ระดับออกซิเจนในฤดูใบไม้ร่วงของเธอ, ก๊าซออกซิเจนแตกต่างระหว่างปริมาณการแพร่กระจายของห้องและไอเสียจะมีขนาด เล็กและแรงดันไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าเซลล์ในระหว่างการติดต่อลดลง

การดำเนินงานที่ผสมลีน (λ> 1)

เมื่อลีนกระบวนการเกิดขึ้นในทิศทาง (ตรงข้าม) ย้อนกลับ เนื่องจากมีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนการเคลื่อนไหวของไอออนออกซิเจนออกจากห้องพักการแพร่ไปยังไอเสียระบบช้าลง ในกรณีนี้แรงดันขาออกของเซ็นเซอร์ 1 ลดลง สองมือ”รู้สึก”การเปลี่ยนแปลงนี้จะเพิ่มแรงดันไฟฟ้าที่เซลล์ปั๊มและหัว 2’สั่น’ในเซลล์การแพร่ (ห้องแพร่) ออกซิเจนมากขึ้น เพิ่มขึ้นนี้ในปริมาณออกซิเจนในห้องการแพร่แรงไอออนออกซิเจนมากขึ้นไปในทิศทางของระบบระบายอากาศที่เพิ่มแรงดันของหัววัด

เป็น ผลให้การควบคุมแรงดันไฟฟ้า ECM ควบคุมเครื่องสูบน้ำเพื่อรักษาเซ็นเซอร์ 1 0.45 V. แรงดันไฟฟ้านี้จะใช้เพื่อกำหนด 22:01 องค์ประกอบของแก๊สไอเสียในช่วงตั้งแต่ 12:01 ถึง ขณะ ที่จะมีการหารือด้านล่าง (รายละเอียดการทดสอบ), เซลล์ปั๊มแรงดันไฟฟ้าที่เป็นสัดส่วนกับ – อัตราส่วนเชื้อเพลิงอากาศ (ผสมองค์ประกอบ)

สำหรับระบบที่มีการตอบสนองแรงดัน LAF – Sensor แนะนำพารามิเตอร์ใหม่ –“ผู้จัดการ » ส่วนผสม (บัญชาอัตราส่วน AF) สาระสำคัญของมันคือว่า ECU กำหนดอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างปริมาณของอากาศและเชื้อเพลิงขึ้นอยู่กับโหมดการทำงานของเครื่องยนต์ หลัง จากการกำหนดองค์ประกอบของส่วนผสมที่เหมาะสมสำหรับสภาพปัจจุบันของ ECU เครื่องยนต์ยังคงมีค่าในหน่วยความจำและแรงดันไฟฟ้าเพิ่มเติมรองรับความจำ เป็นที่เซลล์ติดต่อปั๊มระหว่างอยู่ในช่วงที่เหมาะสม มะเดื่อ 3 (ข้อมูลวินิจฉัยสแกนเนอร์) คือตัวแปรของการอ่านและการเซ็นเซอร์หัวฉีดที่โหมดต่างๆของการดำเนินการ ตัวอย่างเช่น ECM ได้กำหนดให้รถสามารถเคลื่อนย้ายที่ไม่ติดมันมากขึ้น หลังจากการหมดสิ้นของ) ของสมาชิกฉีดลดเวลาพัลส์ (กว้าง, PW เพื่อตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าที่เซลล์ปั๊ม ประสบความสำเร็จเมื่อผลลัพธ์ที่ต้องการจะได้รับการแก้ไขค่าของหัวระยะเวลาเปิดของรัฐของ ในคำอื่น ๆ หน่วยควบคุมจะเป็นตัวกำหนดองค์ประกอบของสารผสมที่ดีที่สุดและใช้เซ็นเซอร์ LAF เพื่อรักษาไว้ในช่วงที่

รูปที่ 4 (Pin Connector) เซ็นเซอร์วัตถุประสงค์ LAF กับ 8 พินของรายชื่อของเขา 1 “+”ฮีทเตอร์ (HT CNTL, สีส้ม) 2 “–“ฮีทเตอร์ (GND, สีเหลือง) 3 “–“ECM 4 การสอบเทียบทาน (Label) 5 ฟรี 6 แรงดันไฟฟ้าเซลล์ (VS +, สีแดง) 7 สูบน้ำด้วยเซลล์ (IP +, สีแดง) 8 แรงดันไฟฟ้าอ้างอิง (IP -, VS +, สีแดง)

หมายเหตุในการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ LAF : ในการควบคุมรถใช้เจ็ดสายและเชื่อมต่อโดยใช้ – เชื่อมต่อขา 8 แต่เซ็นเซอร์จะเชื่อมต่อกับสายไฟเพียงห้า สองขั้วขาแนบตัวต้านทานวัด (สอบเทียบทาน), ความต้านทาน 4 โอห์มโดยปกติจะเป็น สามารถเชื่อมต่อกับขั้วต่อขา – 10 (ภาพด้านขวา) ในกรณีนี้ที่สองค่าความต้านทานของ”Extreme 0,65-0,7 ohm เกี่ยวกับ”resistor, — 55 – 60 โอห์ม เครื่องทำความร้อนความต้านทานประมาณ 2 — 13 โอห์ม

การตรวจสอบเซ็นเซอร์ LAF

ส่วน ใหญ่ทดสอบภายใต้การพิจารณาประกอบด้วยเซ็นเซอร์ตรวจสอบจุดแรงดันไฟฟ้าที่สาม : –“อ้างอิง”แรงดัน (ควร 2.7 V) แรงดันไฟฟ้าเซลล์ (ควร 0.45 V) แรงดัน”สูบน้ำ”ของเซลล์ แรงดันนี้เทียบเท่ากับเซ็นเซอร์แรงดันของออกซิเจนและแตกต่างกันไปตามการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบ – ส่วนผสมอากาศเชื้อเพลิง แต่กลับแรงดันนี้ไปยังเซ็นเซอร์แบบทั่วไป : ต่ำ (ต่ำ) — อุดมด้วยส่วนผสมและสูง — สำหรับคนยากจน ทุก การทดสอบเหล่านี้ (รูปที่ 5 การตรวจสอบโครงการเซ็นเซอร์) ได้ทำขึ้นกับอุณหภูมิการทำงานของเครื่องยนต์หลังการให้ความร้อนอบอุ่นและ เซ็นเซอร์ที่ 2000 รอบต่อนาทีเป็น 2 นาที แรงดันอ้างอิง (Reference Voltage) สายเคเบิลซึ่งเป็นเรื่องปกติที่จะตรวจจับทั้ง — การอ้างอิงแรงดันไฟฟ้าลวด อย่าสับสนนำไปสู่นี้ด้วย”ลบ”เพื่อตัวรถ (พื้นแชสซี) เนื่องจากมีแรงดันไฟฟ้า

ตรวจ สอบแรงดันอ้างอิงจะดำเนินการกับโวลต์มิเตอร์ดิจิตอล (DVOM) การเชื่อมต่อเข้าบวกกับขา « อ้างอิงลวด » (ฉบับที่ติดต่อ 8), เชิงลบ — เพื่อร่วมกัน”ลวด”(พินเลขที่ 6) มูลค่า — 2.7 V. แรงดันที่ปั๊มเซลล์ (Cell ปั๊มแรงดัน) แรงดันไฟฟ้าในเซลล์ปั๊ม — ส่วนใหญ่ให้ข้อมูลในการวินิจฉัยของความเครียดเนื่องจากมันสะท้อนให้เห็นถึง องค์ประกอบของก๊าซไอเสีย ความตึงเครียดนี้จะไม่คงที่และจะต้องตรวจสอบโดยใช้แบบเดิมหรือดียิ่งกว่านั้น DSO (oscilloscope จัดเก็บข้อมูลดิจิตอล DSO) ทุก แรงดันทดสอบจะทำกับ DSO ในขนาด 500 mV / และ 200 ms div / div เมื่อเชื่อมต่อดังต่อไปนี้ : สายบวก (สัญญาณ) เพื่อปั๊ม Cell Control (7 ขา), เชิงลบ — เพื่อการอ้างอิงแรงดันไฟฟ้า (ขา 8) คุ้มค่า enrichment ประมาณ 1.0 V ที่มีหมดสิ้นไปประมาณ 0.4 V.

Test”เพื่อเพิ่ม”ริชทดสอบการตอบสนอง

6 สาย - O2 - Sensor

ฉีดสเปรย์น้ำมันเชื้อเพลิงในหลายต่อปริมาณ (หรือลบและหยุดสายยางสูญญากาศควบคุมวาล์วควบคุมความดันในระบบน้ำมันเชื้อเพลิง) นี้จะเป็นการชั่วคราวประเทือง – ส่วนผสมอากาศเชื้อเพลิง แรงดันไฟฟ้าขา”เซลล์ปั๊ม”จะต้องเปลี่ยนขั้ว (เชิงลบ) และมีขนาดประมาณเท่ากับรูปที่ -1.0 V. 6 (ผลการทดสอบกับ oscilloscope.) จะแสดงผลลัพธ์ของการทดสอบใน Civic VX ในปี 1992 เมื่อการผลิตเป็นแน่นอนใช้สอยเซ็นเซอร์ LAF รถปั๊มแรงดันไฟฟ้าที่เซลล์ในประมาณ -1.3 V.

Test”ในการทำให้หมดสิ้นลง”ลีนตอบสนองการทดสอบชั่วคราวไส้แห้งผสม นี้จะเกิดขึ้นหลังจากการเลิกการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มเติม (หรือหลังจากการเชื่อมต่อสูญญากาศได้รับการแก้ไข) ฉันชอบที่จะถอดปลั๊กหัวฉีด มันหมดสิ้นไปได้อย่างรวดเร็วจะสร้างอย่างมีนัยสำคัญของการผสมในเวลาที่เหมาะสมสำหรับคุณ เมื่อรัฐหมดแรงดันไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0,4 0,6 ÷ วีในรูปที่ 7 (ผลการทดสอบในการพร่อง”) จะแสดงผลลัพธ์ของการตรวจสอบดังกล่าวในรถเดียวกัน พารามิเตอร์ของค่านี้ประมาณ 0.4 V. การทดสอบนี้ได้ดำเนินการกับปิดหัวฉีด ครบวงจรรูปแบบในการเปลี่ยนผ่านจากบวกกับแรงดันเชิงลบเกิน 1 วีรถทดสอบมันเป็น 1.7 V ซึ่งเป็นเซ็นเซอร์เข้าสู่ระบบสุขภาพของ

เวลาตอบสนอง (เวลาคงที่)

ประเทืองสั้น ๆ ผสมน้ำมันเชื้อเพลิงที่มากขึ้นและเปิดให้ไปของปีกผีเสื้อ ปั๊มแรงดันไฟฟ้าเซลล์ควรจะลดลงทันที เวลาของการเปลี่ยนผ่านไปยังอุดมไปด้วยส่วนผสมของรัฐควรจะน้อยกว่า 100 มิลลิวินาที ถ้ามากขึ้นระยะเวลาของการสลับ, เซ็นเซอร์เป็นความผิดพลาดและเป็นที่พึงปรารถนาที่จะแทนที่ มะเดื่อ 8 (ผลการทดสอบในระยะสั้นเสริม) แสดงผลการทดสอบหลังเค้นสองครั้งที่เปิด หลัง จากการเปิดครั้งแรกเกิดขึ้นที่ทำให้หมดสิ้นลงชั่วคราว (ทันทีหลังจากที่อุดมด้วยเงื่อนไขเริ่มต้น) และการเปิดสองเพื่อทดสอบความสามารถของเซนเซอร์เพื่อตอบสนอง (ตอบ) มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนผสมจากองค์ประกอบของหมดไปมากมาย เซ็นเซอร์เสียโดยสิ้นเชิง

ควรสังเกตว่าเซ็นเซอร์ LAF อย่างชัดแจ้งปัญหาเดียวกับออกซิเจนเซ็นเซอร์ทั่วไป (ดูบทความของหัวข้อนี้) เหตุผล ส่วนใหญ่น่าจะเป็นความล้มเหลวของพวกเขาคือการแตกขององค์ประกอบที่ให้ความ ร้อนและการปนเปื้อนของน้ำมันเชื้อเพลิงเซ็นเซอร์เพราะใช้ของคุณภาพต่ำ ควรสังเกตว่า LAF ราคาของเซ็นเซอร์สำหรับ Civic HX 1996-1998 ปี บางครั้งจำนวนเงินที่มากกว่า 400 $ US ดังนั้นเพื่อไม่ให้ติดก็ควรจะเป็นความเชื่อมั่นของมันต้องเปลี่ยน. H adeyus ว่าวัสดุนี้จะเป็นประโยชน์ในการนี้

AFR Sensor ปัจจุบัน วิธีการวินิจฉัยการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงการออกแบบส่วนผสมอื่น ๆ — ดูเนื้อหา ของหน้านี้

ตัวเลขเหล่านี้จะแสดงตัวเลือกต่างๆสำหรับการดำเนินงานตรวจจับดังกล่าว automakers อื่น ๆ

บาง PC สแกนเนอร์ที่ใช้วิเคราะห์สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบของบรอดแบนด์ในปัจจุบันเซ็นเซอร์ตรวจจับส่วนผสม

บทความเหล่านี้ตรวจสอบ Wide Range Air / Fuel Ratio Sensor โตโยต้า : :

ช่วงกว้างขององค์ประกอบของสารผสมเซ็นเซอร์ทฤษฎี

Wide – band gauges AFR, การทดสอบและการวินิจฉัย

 

 

copy form alflash.com.ua

เกียร์อัตโนมัติ

เกียร์อัตโนมัติ
เกียร์อัตโนมัติประกอบไปด้วย
ทอร์คคอนเวอร์เตอร์, ชุดแพลนเนตตารี่
เกียร์ และระบบควบคุมไฮดรอลิค
ซึ่งจะใช้แรงดันไฮดรอลิคในการเปลี่ยน
เกียร์ให้สอดคล้องกับความเร็วรถ,
มุมเปิดคันเร่ง และตำแหน่งคันเกียร์โดย
อัตโนมัติ ด้วยเหตุนี้ จึงไม่จำเป็นต้อง
เปลี่ยนเกียร์เหมือนในเกียร์ธรรมดา
อีกทั้งไม่ต้องมีคลัตช์และยังใช้คอมพิวเตอร์
กำหนดการเปลี่ยนเกียร์ให้สอดคล้องกับ
สภาพการขับขี่โดยใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับ
อีกด้วย เรียกระบบนี้ว่า”ระบบเกียร์ควบคุม
ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (ECT)

เกียร์อัตโนมัติ
เกียร์อัตโนมัติแบบควบคุมด้วย
ไฮดรอลิค
โครงสร้างของระบบนี้ จะคล้ายกับ ECT
แต่อย่างไรก็ตาม กลไกควบคุมการ
เปลี่ยนเกียร์จะอ้างอิงกับความเร็วรถ
โดยจับสัญญาณจากกัฟเวอร์เนอร์วาล์วและ
คันเร่ง โดยรับสัญญาณจากการเคลื่อนที่
ของสายคันเร่ง

ทอร์คคอนเวอร์เตอร์
ทอร์คคอนเวอร์เตอร์ของเกียร์อัตโนมัติจะ
ถ่ายทอดกำลังของเครื่องยนต์ไปยังเกียร์
โดยอาศัยแรงดันน้ำมันเกียร์ หลักการ
ทำงานของทอร์คคอนเวอร์เตอร์
เปรียบเทียบเหมือนพัดลม 2 ตัวที่หันหน้า
เข้าหากัน โดยตัวหนึ่งพัดลมเข้าไปหมุน
อีกตัวหนึ่ง การหมุนของปั๊มอิมเพลเลอร์
จะใช้กำลังเหวี่ยงจากศูนย์กลางที่น้ำมัน
เกียร์ซึ่งส่งกำลังไปยังเทอร์ไบน์รันเนอร์
ข้อแนะนำ:
นอกจากนี้ ยังมีทอร์คคอนเวอร์เตอร์
ชนิดที่มีกลไกต่อตรงเพื่อส่งกำลังแบบ
กลไกได้โดยไม่ต้องใช้น้ำมัน อันเกิดขึ้น
จากการทำงานของคลัตช์ที่สับเปลี่ยน
เส้นทางการส่งกำลังและจากข้อต่อ
เทอร์ไบน์รันเนอร์กับฝาครอบด้านหน้า
โดยตรง

ปั๊มน้ำมัน
ปั๊มน้ำมันจะขับตามทอร์คคอนเวอร์เตอร์
เพื่อจ่ายแรงดันไฮดรอลิคที่ใช้ในการทำงาน
ให้กับเกียร์อัตโนมัติ

ชุดแพลนเนตตารี่เกียร์
ชุดแพลนเนตตารีเกียร์นี้จะหมุนรอบเฟือง
ในเกียร์อัตโนมัติ โดยใช้แรงดันไฮดรอลิค
ในการล็อคเฟืองหนึ่งในสาม (เฟืองพีเนียน
ซันเกียร์ หรือ ริงเกียร์)ให้อยู่กับที่เพื่อสร้าง
ให้เกิดสภาวะที่ต้องการดังต่อไปนี้:
การลดความเร็ว, ไดเร็กคัปปลิ้ง
และการเลื่อนถอยกลับ

ETCS-i (ระบบควบคุมลิ้นเร่ง อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ)

ETCS-i (ระบบควบคุมลิ้นเร่ง
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ)
ETCS-i จะเปลี่ยนการทำงานของแป้น
เหยียบคันเร่งเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า
โดยใช้ ECU (Electronic Control Unit)
เป็นตัวควบคุมการเปิดปิดของลิ้นเร่งโดย
มอเตอร์ ซึ่งจะสอดคล้องกับสภาพการขับขี่
ดังนั้น จะไม่มีสายลิ้นเร่งเชื่อมต่อแป้น
เหยียบคันเร่งกับลิ้นเร่ง
มอเตอร์ควบคุมลิ้นเร่ง
ลิ้นเร่ง
ตัวตรวจจับตำแหน่งแป้นเหยียบคันเร่ง
ตัวตรวจจับตำแหน่งลิ้นเร่ง

เทอร์โบชาร์จเจอร์

เทอร์โบชาร์จเจอร์
เทอร์โบชาร์จเจอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการ
อัดอากาศ โดยใช้พลังงานจากแก๊สไอเสีย
เพื่อทำการส่งอากาศที่มีความหนาแน่นสูง
เข้าไปในห้องเผาไหม้เพื่อเพิ่มกำลังงาน
เมื่อล้อเทอร์ไบน์หมุนเนื่องมาจากกำลัง
งานที่ได้มาจากแก๊สไอเสีย ล้ออัดอากาศจะ
หมุนด้วยเนื่องจากเพลาที่ต่อกับล้อ
เทอร์ไบน์ โดยล้ออากาศจะทำหน้าที่อัด
อากาศเข้าไปในเครื่องยนต์
อุปกรณ์อีกอย่างเรียกว่า “ซุปเปอร์ชาร์จ”
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการอัดอากาศเช่นเดียว
กับเทอร์โบชาร์จ แต่ชุดอัดอากาศจะรับ
กำลังงานจากเครื่องยนต์โดยผ่านสายพาน
เพื่อทำการอัดอากาศเข้าเครื่องยนต์

ระบบ VVT-i (Variable Valve Timingintelligent)

ระบบ VVT-i (Variable Valve Timingintelligent)
ระบบ VVT-i ใช้คอมพิวเตอร์ในการควบคุม
จังหวะการเปิดและปิดวาล์วไอดีให้
เหมาะสมกับสภาพเครื่องยนต์
ระบบนี้ใช้แรงดันไฮดรอลิคผันแปรจังหวะ
เวลาในการเปิดและปิดของวาล์วไอดี
เป็นผลให้การประจุไอดีมีประสิทธิภาพ,
แรงบิด, กำลังงานที่ได้, ประหยัดน้ำมัน
เชื้อเพลิงและแก๊สไอเสียที่สะอาด
นอกจากระบบ VVT- i แล้วยังมีระบบ
VVTL- i (Variable Valve Timing and Lift-
Intelligent) อีกด้วย ซึ่งระบบนี้จะเพิ่ม
ระยะยกของวาล์วและปรับปรุง
ประสิทธิภาพการประจุอากาศในระหว่าง
ความเร็วรอบสูง
(3/3)
ระ

การเลือกรถมือสองในมุมมองของผม โดย อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ copy

การเลือกรถมือสองในมุมมองของผม                                                                                                               โดย อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ

ขอเรียนทุกท่านไว้ก่อนนะครับว่า ทั้งหมดนี้เป็นเพียงประสบการณ์ของผมเท่านั้นผมอาจจะตั้งกฎเกณท์ไว้ค่อนข้าง สูงและคิดเสมอว่ารถไม่ได้มีคันเดียวต้องหาที่ดีที่สุดถ้าสงสัยคือหยุดทันที ไปหาใหม่เพราะเป็นความหวังและความเชื่อมั่นของผู้ซื้อที่มีต่อผมและผมจะดู ตามความคิดของผมและให้ผู้ซื้อเป็นคนคุยกับคนขายและผมจะไม่พูดหรือตอบคำถาม ใดๆทั้งสิ้นให้ดูเหมือนพวกรับจ้างดูรถทั่วๆไปและผมจะให้ผู้ซื้อเลือก ไว้2หรือ3คันซึ่งผมจะไล่ดูตามลำดับ เมื่อก่อนผมเคยรับดูรถมือสองโดยไม่คิดค่าตอบแทน(ตามแต่จะให้ส่วนใหญ่ก็จะ เป็นข้างหนึ่งมื้อ)แต่ก็จำไม่ได้ว่าดูไปทั้งหมดกี่คัน อันนี้ของฟรีใครๆก็ชอบตอนหลังอยากทำเป็นอาชีพเหมือนกันแต่เนื่องจากฟรีมา ตั้งแต่ต้นก็เลยลำบากใจสุดท้ายก็ดูให้เฉพาะที่ขับมาให้ดูที่บ้านเท่านั้น (((อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ))) —-กันcopy

–        เมื่อผมเดินทางไปถึงสถานที่ที่รถคันที่เขาจะให้ดูให้จอดอยู่ผมก็จะเริ่มดู จากสภาพภายนอกก่อนโดยเคาะตัวถังรอบๆรถว่าเป็นเสียงของเหล็ก(เสียงแก๊งๆ ใสๆ)หรือว่าเป็นเสียงทึบๆ(ปุ๊คๆ)ของสีโป๊วถ้าเป็นจุดที่ไม่สำคัญและบริเวณ ไม่กว้างเช่นแก้ม ด้านข้าง ด้านท้ายหรือประตูก็ถือว่ายังยอมรับได้(อันนี้เป็นเรื่องปกติการที่จะไม่ เฉี่ยวไม่ชนเลยเป็นไปได้ยากมาก)แต่ถ้าเจอด้านข้างหรือด้านหน้าเป็นหรือด้าน ท้ายหรือหลังคาที่เป็นบริเวณกว้างผมก็จะไม่สนใจรถคันนั้นทันที

–        ถ้ายอมรับได้ก็จะมาดูเรื่องสีรถว่ามีสภาพเรียบร้อยแค่ไหน ชนิดของสีที่ใช้ที่ใช้ต่างกันหรือไม่(สีธรรมดา-ลูไซด์-สีเกร็ด)มีตรงไหนที่ พื้นสีเข้ม-ซีดแตกต่างกันโดยจะเน้นไปที่สีของฝากระโปรงเทียบกับแก้มทั้งสอง ข้างถ้าสีไม่เหมือนกันแสดงว่ามีการทำสีมา(อาจจะจากการชนหรือไม่ก็ได้)จาก นั้นจะนำทั้งหมดไปเทียบกับหลังคาและฝาท้ายแต่จะเน้นที่หลังคาเพราะ ถ้าหลังคาถูกทำสีที่เกิดจากการชนคือการชนที่รุนแรงมากหรือคว่ำมาไม่น่าคบ แน่ๆอันนี้จะดูที่ขอบยางของกระจกหน้าและกระจกหลังถ้าทำสีมาสีจะแตกตรงมุมขอบ ให้เห็น ดูความสม่ำเสมอของขอบประตูด้านบน-ล่างว่ามีเอียงหรือบิดหรือต่ำๆสูงๆหรือไม่ ทั้งสี่บานถ้าพบตรงจุดนี้ก็จะหยุดเช่นกันยิ่งถ้าเจอประเภทสาดสีมาทั้งคันผม จะไม่สนใจรถคันนั้นเลย

–        ถ้าผ่านจุดนี้ผมก็จะเปิดดูที่ห้องโดยสารผมจะเปิดพื้นให้ถึงพรมชั้นล่างสุด โดยเฉพาะตรงที่พักเท้าด้าหน้าทั้งสองข้าง(ข้างหลังไม่เน้นมาก)และจะดมดูจะ ต้องไม่มีกลิ่นอับของความชื้นเหมือนซักผ้าตากไว้ในร่มเพราถ้ามีเป็นไปได้ว่า ระบบแอร์รั่ว-มีการผุของเหล็กที่ผนังกั้นห้องโดยสารกับห้องเครื่อง-มีการ รื้อหรือยกเครื่องออกจากตัวรถแล้วประกอบไม่ดีจนมีน้ำรั่วเข้ามาได้(อาจจะ ซ่อมหรือชนมา)เชื่อไหมบางคันเจอน้ำใต้พรมเลยก็มี ถ้าเจอก็หยุดเช่นกันอันนี้ไม่มีข้อแม้

–        ถ้าผ่านก็จะดูขอบกระจกหน้า(ดูจากข้างใน)อาจจะต้องถอดขอบออกถ้าเป็นกระจกจาก โรงงานจะต้องไม่มีเศษซิลิโคนให้เห็นและขอบทุกด้านต้องแนบสนิท(ถ้าเป็นรถรุ่น ใหม่ๆจะดูที่ยี่ห้อทุกบานต้องยี่ห้อเดียวกัน)ถ้ามีเศษซิลิโคนหรือกระจกแนบ ข้างแต่อีกข้างโด่งอันนี้ก็แสดงว่าเคยเปลี่ยนกระจกหน้ามา(ไม่ว่าด้วยเหตูใด ก็ตาม)ผมก็จะหยุดเช่นกัน

–        ถ้าผ่านก็ดูต่อคราวนี้ก็บิดสวิทช์กุญแจดูสัญญานเตือนต่างๆต้องติดครบแล้วก็ สตาร์ทเครื่องดูสัญญานเตือนทุกตัวต้องทำงานตามปกติถ้าไม่ก็ดูอีกทีว่ารับได้ หรือเปล่า(เช่นรูปแบตเตอรี่อาจเป็นไปได้ถ้ารถจอดนานจนแบตหมดก็จะเก็บความ สงสัยไว้ก่อน)จากนั้นก็จะเปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีในรถทั้งหมดตัวไหนทำงานไม่ทำ งานก็จำไว้และจะค้างไฟหน้าไว้ที่ไฟสูงเปิดแอร์แรงสุด แล้วค่อยเปิดกระโปรงหน้า (((อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ))) —-กันcopy

–        มาดูที่ห้องเครื่องในส่วนนี้ค่อนข้างเน้นมากถ้าเจอตรงไหนจะหยุดทันทีอันแรก ก็เปิดฝาหม้อน้ำทิ้งไว้(บางรุ่นไม่มีก็เปิดที่พักน้ำแทน)จากนั้นก็เริ่มฟัง เสียงและใช้มือกับที่ตัวเครื่องดูการสั่นเสทือนที่จะบอกถึงความเรียบของ เคื่องยนต์ในรอบเดินเบาต้องไม่มีการกระตุก การสั่นต้องต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอ(ไม่ใช่สั่นบ้างหยุดบ้าง) ฟังเสียงสายพาน-ลูกรอก-พัดลมต้องไม่ส่งเสียงเจี้ยวจ้าวเกินพอดี ดูขอบห้องเครื่องด้านหน้า-ซ้าย-ขวาต้องมีร่องรอยของจุดสป็อตของการอาร์ค ไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบ(เป็นหลุมที่มีระยะห่างเท่าๆกันถ้ามีการชนสีโป๊วจะ อุดรอยพวกนี้เป็นเรียบหมด) (((อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ))) —-กันcopy

–        จากนั้นก็จะดูชุดโคมไฟหน้าว่าเรียบเสมอกับกับไฟเลี้ยวหรือเปล่ามีการปรับ เอียงไว้หรือไม่ถ้าเอียงก็ปรับให้ตรงและเสมอเป็นปกติซะแล้วเดินไปด้านหน้า ห่างจากรถประมาณ 10-15เมตรแล้วหันมาดูไฟหน้ารถ(ที่ผมเปิดทิ้งไว้ที่ไฟสูง)สังเกตุไฟทั้งสอง ข้างจะต้องมีความสูงที่ใกล้เคียงกันถ้าสูงข้างต่ำข้าง(อันนี้ก็เหมือน ตอนกลางคืนที่บางครั้งเราขับสวนคันอื่นไฟข้างนึงสูงอีกข้างนึงต่ำ)แต่ผมได้ ปรับโคมให้เสมอกันแล้วอันนี้ร้อยทั้งร้อยบอกได้เลยชนด้านหน้าหรือเฉียงๆข้าง ใดข้างหนึ่งมาหลีกให้ห่าง (((อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ))) —-กันcopy

–        ถ้าผ่านก็กลับมาที่รถดึงสายคันเร่งๆเครื่องดูว่าเร่งดีหรือไม่ต้องไม่มี สดุดหรือสำรักน้ำมันและเสียงแขกของวาล์ว(แก๊กๆ)ต้องไม่ดังจนน่าเกลียด ตอนนี้เครื่องร้อนแล้วก็จะมาดูน้ำหม้อน้ำหรือหม้อพัก(ที่เปิดฝาทิ้งไว้แต่ที แรก)การไหลวนต้องไม่มีฟองอากาศ(ยิ่งเร่งเครื่องฟองยิ่งใหญ่ขึ้น)ถ้ามีแสดง ว่าเครื่องเคยโอเวอร์ฮีตมาจนฝาสูบโก่งไม่ควรคบ ถ้าผ่านก็จะก้มดูด้านล่างว่ามีน้ำแอร์หยดอย่างสม่ำเสมอดี(ถ้าไม่มีหยดเลยก็ ไม่เอา)และต้องไม่มีอย่างอื่นหยดนอกจากน้ำแอร์จากนั้นก็ไปปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่เปิดไว้แล้วดับเครื่องที่สำคัญคือระหว่างที่เช็คอยู่ถ้าคนขายไปดับ เครื่องผมก็จะไม่ดูต่อเช่นกัน(แสดงว่าต้องการปกปิดบางอย่าง)แล้วก็มาดูรอย รั่วของน้ำตามท่อน้ำหรือน้ำมันในระบบว่ามีใหม่ๆออกมาตรงไหนบ้าง(อันนี้พอรับ ได้บ้างแต่เก็บข้อมูลไว้)ดูตามจุดประกบต่างๆเช่นฝาครอบวาล์ว-เครื่อง-หัว เกียร์ว่ามีร่องรอยของสารซีลป้องกันรั่วหรืไม่(สีส้มหรือสีขาว)ถ้ามีก็แสดง ว่าจุดนั้นๆมีการถอดซ่อมมาแล้ว(เก็บเป็นข้อมูลไว้)รอซักพักแล้วก็มุดดูพวก ลูกยางกันฝุ่น-กันโคลง-ยางหุ้มเร็คพวงมาลัยว่ามีจุดไหนชำรุดเสียหายหรือ จาระบีรั่วหมดบ้าง(พอรับได้ก็เก็บข้อมูลไว้)จากนั้นก็ปิดฝาหม้อน้ำหรือหม้อ พักเช็คระดับของเหลวทุกอย่างเช็คการยุบตัวของโช้คต้องไม่แข็งหรือนิ่มเกินไป และต้องไม่มีเสียงกระทบกันของเหล็ก(เก็บข้อมูลไว้) จากนั้นก็ทดลองขับ(ถ้าไม่ให้ลองขับก็หยุดเช่นกัน)ดูความสม่ำเสมอของอัตรา เร่งต้องไม่กระตุก รอบเครื่องกับความเร็วต้องสัมพันธ์กันไม่ใช่รอบสูงแล้วแต่รถไม่วิ่งก็ใช้ไม่ ได้ พยามหาถนนที่โล่งอัดและลากเกียร์ให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ที่ดีที่สุดคือ ต้องไม่มีการสดุดของเครื่องเลยและการสับเปลี่ยนเกียร์(ธรรมดา)จะต้องลื่น เข้าง่ายไม่มีเสียงโครกครากให้ได้ยินอันหมายถึงความเสื่อมสภาพของครัทช์หรือ ครัทช์ที่เคยไหม้มาก่อน จากนั้นก็รักษาความเร็วไว้ที่100-120แล้วเบรคแรงๆที่ดีต้องไม่มีเสียงเอี๊ยด อ๊าด-อาการปัด-พวงมาลัยสั่น-รถสั่นทั้งคันต้องไม่มีให้เห็นถ้าเล็กน้อยก็ไม่ เป็นไรพอรับได้(เก็บข้อมูลไว้) ถ้าเป็นเกียร์ออโต้ก็จะเบรคจนรถหยุดเลยเครื่องต้องไม่ดับด้วยจากนั้นผมก็จะ เลี้ยวเข้าปั๊มน้ำมันหาที่โล่งหมุนพวงมาลัยซ้าย-ขวาสุด(ทีละด้าน)แล้วเร่ง เครื่องออกตัวแรงๆต้องไม่มีเสียงก๊อกๆแก๊กๆของเพลาหรือลูกหมาก(ถ้ามีก็เก็บ ข้อมูลไว้) (((อาจณรงค์ เศรษฐีสมบัติ))) —-กันcopy
ตลอกเวลาที่ลองขับ ที่หน้าปัดต้องไม่มีสัญญานอะไรกระพริบขึ้นมาและเกร์ความร้อนต้องนิ่งประมาณ กลางๆ(หรือที่ใดที่หนึ่ง)โดยไม่เลื่อนขึ้นลงจึงจะถือว่าเยี่ยม เมื่อออกจากปั๊มมาก็จะมองหาหมู่บ้านจัดสรรเจอปุ๊บก็เลี้ยวเข้าไปเลยหาช่อง ที่มีเนินปูนต์กันรถวิ่งเร็วหรือแมงกะไซค์แล้วจะอัดประมาณ60ลุยทดสอบช่วง ล่างซัก2-3จุดเพื่อทดสอบช่วงล่างจะต้องไม่มีเสียงดังของเหล็กกระทบกันให้ได้ ยินแต่ถ้าเป็นเสียงทึบๆของโช้คหรือสปริงก็ปกติ ในระหว่างการทดลองขับ(ผมจะไปกับผู้ขายเท่านั้นให้ผู้ซื้อคอยที่เต็นท์หรือ ที่บ้านของผู้ขาย)ถ้ามีการเสนอเงินให้ผมเพื่อให้เชียร์รถของเขาจนขาย ได้(เพราะเขาคิดว่าผมเป็นพวกรับจ้างดูรถทั่วๆไป)ผมก็จะเลิกสนใจรถคันนั้น ทันทีเช่นกัน(เคยมีเสนอให้ต่ำสุด5พันและสูงสุด2หมื่น) จากนั้นก็เอารถไปคืนแล้วลงจากรถมาดูสภาพของยางว่าจะยังสามารถใช้งานต่อไปได้ มากน้อยเพียงใด(เพื่อเป็นข้อมูล)ถ้ายางมีกลิ่นเหม็นไหม้หนือสึกแบบดำอย่าง เห็นได้ชัดและกดดูที่ดอกแข็งๆ(ทั้งที่ยังร้อนอยู่)แสดงว่าหมดสภาพเพราะถึง แม้จะไปเซาะร่องยางมาการวิ่งดังกล่าวจะแสดงผลทันที จากนั้นก็กลับออกไปดูคันที่สองและที่สามตามลำดับ(บอกว่าขอเวลาคิดก่อนอย่า หลงกลวางเงินมัดจำโดยเด็ดขาดขายได้ก็ให้เขาขายไป)เมื่อครบแล้วก็กลับ บ้าน(อันนี้ผมกลับจริงๆนะครับ)แล้วก็มาสรุปให้ผู้ซื้อฟังว่าแต่ละคันเป็น อย่างไร ซื้อมาต้องซ่อมอะไร ใช้จ่ายประมาณเท่าไหร่คันไหนน่าสนใจที่สุดตามลำดับหนึ่งสองสามแล้วให้ผู้ ซื้อไปตัดสินใจและไปต่อรองราคากันเอาเองผมไม่เกี่ยว(แต่ทุกคันที่ผมไปดูให้ ผมรับประกันซ่อมให้ด้วยตลอดอายุการใช้งานและผมจะให้เครดิตกับเต็นท์ที่มีการ รับประกันหลังการขายเป็นลายลักษณ์อักษรสูงกว่าเต็นท์ทั่วๆไป) และขอย้ำว่าการดูรถบ้านสำหรับผมจะใช้วิธีการโทรถามสถานที่หรือเลขที่บ้าน ก่อนแต่จะนัดดูรถในอีก5-7วันหรืออาจจะยังไม่นัดเลยจากนั้นผมจะไปหาบ้านหรือ สถานที่ดังกล่าวจนเจอแล้วจะซุ่มดูอยู่1-2วันต้องขับตามดูการใช้งานและสภาพ ที่พอดูได้จากระยะไกลด้วยผมจะเลือกเฉพาะรถที่มีการใช้งานอยู่เท่านั้น ถ้าเจอแบบคลุมผ้าหรือจอดทิ้งไว้ก็ไม่เอาครับหรือบางทีขับตามไปเจอเลี้ยวเข้า อู่อันนี้ก็ไม่เอา หาบ้านไม่เจอก็ไม่เอา นัดนอกสถานที่ก็ไม่เอา ยิ่งเป็นเบอร์บ้านยิ่งเช็คง่ายถาม 13(เดี๋ยวนี้เป็น 1133 แล้ว)ถามหาชื่อเจ้าของบ้านของเบอร์นั้นๆว่าตรงกับเจ้าของรถหรือไม่บางทีก็ ไม่ตรงกันก็ไม่เอา(อาจจะมีเต็นท์มาเช่าหน้าบ้านขาย) ดังนั้นการดูรถบ้านสำหรับผมแล้วจะยากกว่าการดูรถเต็นท์ครับเพราะดูได้แค่ อาทิตย์ละไม่เกิน 2 คันทั้งหมดที่เล่ามาเป็นเพียงคร่าวๆ(แค่นี้ก็ยาวมากแล้ว)ยังมีรายละเอียดปรี กย่อยอีกมากพอดูเหมือนกันครับแต่ไม่ค่อยสำคัญเท่าไหร่ขอย้ำอีกครั้งว่ามัน เป็นกฏที่ผมสร้างขึ้นมาเองอาจจะดีหรือไม่ดีก็ได้ครับไม่จำเป็นต้องเชื่อครับ เพราะ ปล.เป็นแค่ความคิดเห็นส่วนตัวครับ

วิธีรีเซ็ทไฟ สายพาน Timing,ไฟเตือน กรองน้ำมันดีเซล ใน D4D

วิธีรีเซ็ทไฟ สายพาน Timing,ไฟเตือน กรองน้ำมันดีเซล ใน D4D

*เจอมานานแล้วจำที่มาไม่ได้แล้วครับ ต้องขออภัยท่านเจ้าของข้อความด้วย***

ทั้ง 2 วิธีนี้ตัวกระผมเองได้ลองทำมาแล้วกับรถ D4D ของผมเอง ได้ผลชัวร์ ไม่มีผลข้างเคียง
เหมาะสำหรับท่านที่จ้างช่างข้างนอกเปลี่ยนเอง (ที่ไว้ใจได้หน่อย) แล้วเรามารีเซ็ทเองทีหลังครับ เพราะช่างบางที่ก็ไม่รู้

ถ้าเข้าศูนย์ก็ 3800 บาท ของผมซื้ออะไหล่แท้ที่ตัวแทนจำหน่าย แถวคลองถม มีลูกรอกสายพาน และสายพาน
ราคาประมาณ 2100 บาท (รวมส่วนลดแล้ว) จ้างช่างที่บ้าน ค่าแรง 250 บาท ก็ประหยัดไปได้พอตัว
แล้วแต่ความสะดวกของแต่ละท่านนะครับ เอามาบอกกล่าวเล่าสู่กันฟัง

แถมอีกนิดนึง ที่กรองอากาศ บริเวณฝาครอบกรอง จะมีตัว senser Air Flow ที่ตรวจวัดปริมาณอากาศ
สามารถถอดออกมาเช็ดทำความสะอาดได้

1. ปลดคลิบล็อคสายไฟที่ขั้ว
2.ไขสกรู 2 ตัว (ถ้าจำไม่ผิด) ออก แล้วดึง Air Flow ขึ้นมาได้เลย

ทำความสะอาดโดยใช้ผ้านุ่มๆไม่มีขนเช็ดเอาคราบเขม่าที ่เกาะติด ที่ตัวเข็ม Air Flow
ออกให้หมดใส่กลับเข้าที่เดิม ลองสตาร์ทแล้วขับดูจะเห็นถึงความแตกต่างว่ารถเรามันพ รุ่งขึ้น จี๊ดขึ้นมากกว่าเดิม

วิธีการลบไฟเตือน T-Belt

1.บิดสวิทช์กุญแจไปที่ตำแหน่ง ON แล้วกดปุ่มปรับระยะทางให้อยู่ในที่ตำแหน่ง ODO
2.บิดสวิชท์กุญแจไปที่ตำแหน่ง OFF
3.กดปุ่มปรับระยะทางพร้อมกับบิดสวิทช์กุญแจไปที่ตำแห น่ง ON ค้างไว้ประมาณ 5 วินาที
4.ปล่อยปุ่มปรับระยะทาง แล้วกดไป 1 ครั้ง จะมีตัวเลข 15 แสดงขึ้นมา
5.กดปุ่มปรับระยะทางทีละครั้งตัวเลขจะเปลี่ยนเพิ่มขึ ้นเรื่อยจาก 1,2,3,4,5…… ซึ่งตัวเลขแต่ละตัวจะแทนหลักหมื่น เช่น
15 คือ 150000 กม. และเป็นตัวเลขระยะทางที่ตั้งไว้ให้ไฟเตือน T-Blet แสดงเมื่อระยะทางถูกนับจนครบตามที่ตั้งไว้
6. เมื่อตั้งเลขได้แล้ว ให้กดปุ่มปรับระยะทางค้างไว้ประมาณ 5 วินาที
7. ปล่อยปุ่มปรับระยะทาง แล้วกดไป 1 ครั้ง ตัวเลขจะเปลี่ยนไปอยู่ในที่ตำแหน่ง ODO
8.บิดสวิชท์กุญแจไปที่ตำแหน่ง OFF แล้วบิดสวิทช์กุญแจไปที่ตำแหน่ง ON อีกที ไฟเตือน T-Belt จะดับไปเอง

ทั้งนี้ผมไม่แนะนำให้การดับไฟเตือน T-Belt เอง
โดยที่ยังไม่ได้เปลี่ยนสายพานราวลิ้นนะครับ เนื่องจากอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเครื่องยนต์ได้

วิธีดับไฟเตือน FUEL FILLTER D4D
(ผมว่าทำยากกว่าดับไฟ T-Belt ต้องทำช้าๆ เหยียบให้สุด และฟังเสียงติ๊กที่รีเลย์ เวลาปิด-เปิดสวิชท์กุญแจด้วย ถ้าทำเร็วไปจะไม่ผ่าน)
เมื่อเปลี่ยนกรองดีเซลตอน 40000 กิโลเมตรแล้วให้ทำดังนี้พี่

เตรียมสายไฟสักเส้นยาวสัก 5-7 เซนติเมตรปลอกสายทั้งสองข้างทำเป็นสาย jump
กรณีที่ 1กรณี ที่ ใช้งานครบ ทุกๆ 40000 กม. และหลอดไฟติด FUEL FILTER ติดค้าง เมื่อเปลี่ยนกรองแล้ว ให้ทำดังนี้
1. เปิด IGSW “ON”
2. ปิด IGSW “OFF” **
3. ลัดวงจร TC-E1 ที่กล่องตรวจสอบ (diagnostic box) (อยู่ที่ห้องเครื่อง ติดกับตัวเครื่องยนต์ด้านขวามือเรา เป็นกล่องสีดำเขียนว่า diagnostic box )
4. เปิด IGSW “ON” จากนั้นกด-ปล่อยแป้นคันเร่ง 10 ครั้ง *
5. ปิด IGSW “OFF” **
6. เปิด IGSW “ON”
7. กด-ปล่อย แป้นคันเร่ง 3 ครั้ง
8. ปิด IGSW “OFF” **
9. เปิด IGSW “ON”
10. กด-ปล่อยแป้นคันเร่ง 5 ครั้ง
11. ปิด IGSW “OFF” **
12. เปิด IGSW “ON”
13. ขั้นตอนนี้ จะพบว่าหลอดไฟ FUEL FILTER ดับลง
14. ปิด IGSW “OFF” **
15. เปิด IGSW “ON”
16. กด-ปล่อยแป้นคันเร่ง 10 ครั้ง (ภายในเวลาไม่เกิน 30 วินาที)
17. ปิด IGSW “OFF” **
18. เปิด IGSW “ON”
19. กด-ปล่อยแป้นคันเร่ง 3 ครั้ง
20. ปิด IGSW “OFF” **
21. เปิด IGSW “ON”
22. ปิด IGSW “OFF” **
23. เปิด IGSW “ON”
24. ปิด IGSW “OFF” **
25. ดึงสาย jump TC-E1 ออกจากกล่องตรวจสอบ (diagnostic box)
26. สตาร์ท เครื่องยนต์ และตรวจสอบ ว่าหลอดไฟ FUEL FILTER ดับ

* กด-ปล่อย แป้นคันเร่ง 1 ครั้ง(กด-ปล่อย ให้สุดระยะของแป้นคันเร่งและอยู่ภายในเวลา 1 วินาที
** ขณะ ปิด IGSW “OFF” ให้ฟังเสียง รีเลย์ ด้านคนขับ ดัง “คลิ๊ก” ก่อนปฏิบัติขั้นตอนต่อไปทุกครั้ง
ขั้นตอน ที่ 1-13 เป็นขั้นตอนทำให้หลอด FUEL FILTER ดับ
ขั้นตอน ที่ 14-25 เป็นวิธีการที่ให้กล่อง ECU เริ่มต้นนับ ระยะทาง ที่ 0 กม.ใหม่หลังจากเปลี่ยนกรองเชื้อเพลิงแล้ว

กรณีที่ 2กรณีที่ต้องเปลี่ยนกรองเชื้อเพลิง ก่อนถึงระยะทาง 40000 กม. เนื่องจากใช้น้ำมันคุณภาพไม่ถูกต้อง หรือมีสิ่งสกปรกมาก
หรือ ระยะทางครบ หรือเกิน 40000 กม. แต่ไฟ FUEL FILTER ไม่ติด
1. เปิด IGSW “ON”
2. ปิด IGSW “OFF”
3. ลัดวงจร TC-E1 ที่กล่องตรวจสอบ (diagnostic box)
4. เปิด IGSW “ON”
5. กด-ปล่อย แป้นคันเร่ง 10 ครั้ง (ภายในเวลาไม่เกิน 30 วินาที)
6. ปิด IGSW “OFF”
7. เปิด IGSW “ON”
8. กด-ปล่อย แป้นคันเร่ง 3 ครั้ง
9. ปิด IGSW “OFF”
10. เปิด IGSW “ON”
11. กด-ปล่อย แป้นคันเร่ง 10 ครั้ง (ภายในเวลาไม่เกิน 30 วินาที)
12. ปิด IGSW “OFF”
13. เปิด IGSW “ON”
14. ขั้นตอนนี้ จะพบว่าหลอดไฟ FUEL FILTER ติดขึ้นมา
15. ปิด IGSW “OFF”
16. เริ่มต้นทำต่อเนื่องในขันตอนที่ 4-26 ของกรณีที่ 1 จนสิ้นสุด

ขั้นตอนที่ 1-14 เป็นวิธีการทำให้หลอดไฟ FUEL FILTER ติดขึ้นมา
ขั้นตอนที่ 15-16 เป็นขั้นตอน การลบหลอดไฟ FUEL FILTER ให้ดับ และเริ่มต้นให้ ECU นับระยะทาง ที่ 0 กม. ใหม่อีกครั้ง
_________________
**การลัดวงจร ทำที่กล่อง Diagnostic ของเครื่องยนต์ จะเป็นกล่องพลาสติกเหลี่ยมๆ เล็กๆมีฝาปิด อยู่ในห้องเครื่องยนต์….
จะมีขึ้วอยู่หลายขึ้ว มีผังขั้วอยู่ที่ ฝาปิด บอกถึงตำแหน่ง ของขึ้วต่าง..ให้หาขึ้วที่ชื่อTC กับขั้ว E1 แล้วใช้สายไฟ ต่อให้ถึงกัน…..
**IG SW เป็นกุญแจ ที่คอพวงมาลัย ตำแหน่ง ก่อนสตาร์ทครับผม ที่กุญแจคอพวงมาลัย จะมีหลายตำแหน่ง เช่น
LOCK – ACC -IGN-START เรียงตามลำดับ ตำแหน่ง IGN ก็คือ IGSW ตำแหน่งจะอยู่ก่อนตำแหน่ง สตาร์ทเครื่องยนต์ครับ

คำตอบที่ 7
สำหรับ VIGO

1. บิด IGSW ตำแหน่ง ON

2. เปลี่ยนจอแสดงผล DIGITAL ให้อยู่ในโหมด ODO โดยกดปุ่ม TRIP SW จากนั้น IGSW off

3. กดปุ่ม TRIP SW ค้างไว้จากนั้นบิด IGSW ON ประมาณ 5 วินาที่

4. ปล่อยปุ่ม TRIP SW จากนั้นกดปุ่ม TRIP SW อีกครั้ง(ภายใน 5 วินาที)

5. จอแสดงจะเปลี่ยนไปอยู่ในโหมดT-Belt ก็คือจะเห็นเลข 15 อยู่ใช่ไหมครับ มันคือ 150,000 ก.ม ครับ กด TRIP SW แต่ละครั้งมันจะเพิ่มค่าทีละ 10,000 ก.ม. เมื่อเลขเพิ่มไปถึง 20 กดอีกครั้งมันจะกลับมาที่ 1 (10,000 ก.ม.) แต่ถ้าซื้อ T-Belt ข้างนอกเลือก 10 ก็ดีครับ (มันคือ 100,000 กิโลเมตรต่อไป = 250,000) ต่อจากนั้น กดปุ่ม TRIP SW ค้างไว้ 5 วินาทีเป็นอันว่าเสร็จติดเครื่งยนต์ก็จะดับ

ค่า A/R ที่ระบุในเสปกเทอร์โบ คืออะไร

ค่า A/R ที่ระบุในเสปกเทอร์โบ คืออะไร


ค่า A/R หมายถึง อัตราส่วนคอคอดที่บอกขนาดภายในของโข่งไอเสียเทอร์โบ ว่ามีขนาดของช่องที่จะรีดไอเสียที่จะไปปั่นเทอร์ไบน์ กังหันไอเสียหรือเทอร์ไบน์ที่มีขนาดเท่ากัน สามารถกำหนดอัตรารอบการหมุนให้ช้าหรือเร็วได้ ถึงแม้ว่าไอเสียจะมีมวลเท่าเดิม และกังหันไอเสียเท่าเดิม แต่สามารถเพิ่มหรือลดรอบการหมุนของกังหันไอเสียได้ด้ วยโดยใช้อัตราส่วน A/R นี้
ค่า A คือพื้นที่หน้าตัดของช่องปลายสุดของท่อรีดของโข่งไอเ สีย ถ้ามองจากปากเข้าไป
ค่า R คือ รัศมีจากจุดศูนย์กลางของเทอร์ไบน์ถึงกลางพื้นที่หน้า ตัดของช่องปลายสุดของท่อรีดไอเสียของโข่งไอเสีย

ค่า A/R ในขนาดเทอร์ไบน์เดียวกัน ถ้า A/R มีค่าน้อย(คอคอดเล็ก) แสดงว่ามีการรีดไอเสียมาก (กังหันไอเสียจะหมุนเร็ว) เป็นการเพิ่มความเร็ว ให้เทอร์ไบน์หมุนเร็ว บูสท์มาเร็ว อัตราส่วน A/R มีค่ามาก (คอคอดใหญ่) กังหันไอเสียก็จะหมุนช้า
ขนาดของคอคอดบริเวณทางเข้าภายในโข่งไอเสียมีขีด จำกัด อยู่ที่ แรงดันย้อนกลับ
ถ้าคอคอดเล็กเกินไป (อัตราส่วน A/R ต่ำเกินไป) ไอเสียที่เข้าไปปั่นกังหันไอเสียจะมีความเร็วสูง มีการตอบสนองต่ออัตราเร่งของบูสท์ได้เร็ว แต่ความร้อนสะสมในตัวเทอร์โบก็จะสูงและเกิดแรงดันย้อ นกลับในระบบไอเสียมาก
ส่วน คอดใหญ่เกินไป (อัตราส่วน A/R มีค่ามากเกินไป) การตอบสนองต่ออัตราการเร่งของบูสท์เทอร์โบจะช้า แต่ความร้อนสะสมในตัวเทอร์โบจะน้อยกว่าการระบายของไอ เสียจะไม่เกิดแรงดันย้อนกลับมาก การสร้างแรงดันเสริมหรือบูสท์จะช้า จะบูสท์ที่รอบสูง เรียกว่ามีการรอรอบมาก
ขนาดของเทอร์โบ ?

เทอร์โบ จะทำงานตามปริมาณไอเสีย ไม่ได้ทำงานเฉพาะความเร็วสูง ถ้าใช้เทอร์โบเล็ก(จะ BOOSTแถวๆ 7-10 ปอนด์ โดยไม่ต้องพึ่ง Intercooler แต่ถ้ามี intercooler ก็จะช่วยลดความร้อนได้ส่วนหนึ่ง) กังหันไอเสียหมุนเร็วตั้งแต่รอบเครื่องยนต์ต่ำ อัดอากาศได้เร็ว แต่ในรอบสูงจะตื้อ เพราะไอเสียไหลได้ไม่ทัน เทอร์โบตัวใหญ่ สร้างแรงดันได้ช้า รอรอบนาน แต่ไอเสียไหลคล่อง จึงควรใช้เทอร์โบขนาดพอเหมาะกับซีซีของเครื่องยนต์ (ไม่ควรเลือกเทอร์โบที่เล็กหรือใหญ่กว่าเครื่องยนต์ท ี่จะนำเทอร์โบไปติดตั้งเกินกว่า 200-300 ซีซี)
การเอาเทอร์โบตัวเล็กกว่า ความเหมาะสมมาใส่ในเครื่องย นต์ ก็ทำให้บูสท์มาเร็ว และมีอาการอั้นที่รอบสูงๆ ได้มาไม่เต็มที่ และถ้าแช่ยาวๆ อาจจะเกิดการโอเวอร์ฮีทได้ และไม่แรงเท่าที่ควรเนื่องจากไอดีมีมวลน้อยเพราะกังห ันไอดีมีขนาดเล็ก
การ เอาเทอร์โบใหญ่กว่าความเหมาะสมมาใส่ จะทำให้มีอาการรอรอบแต่ก็ไม่มีปัญหาโอเวอร์ฮีท เพียงแต่ว่าจะได้ใช้ม้าไม่บ่อยนัก เพราะบูสท์จะมารอบสูงๆ หรือเกียร์สูงๆ

การ ติดตั้งเทอร์โบเพิ่มเข้าไปในเครื่องยนต์ดีเซล ส่วนใหญ่ไม่ต้องมีการเปลี่ยนชิ้นส่วนภายในเครื่องยนต ์ แต่ควรใช้แรงดันของอากาศ (บูสต์) ไม่เกิน 5-7 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และถ้ามีการแต่งปั๊มจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่มก็จะดี ขึ้นไปอีก
อัตรา ส่วนกำลังอัด กับ เทอร์โบ ?

อัตราส่วนกำลังอัด (Compression Ratio) มีความสำคัญต่อการทำงานของเครื่องยนต์ที่ติดตั้งเทอร ์โบมาก เครื่องยนต์ที่ติดตั้งเทอร์โบจำเป็นต้องมีอัตราส่วน กำลังอัดต่ำกว่าเครื่องยนต์ปกติ เพราะว่าเครื่องที่ติดตั้งเทอร์โบอัตราส่วนกำลังอัดข องการประจุไอดีเมื่อลูกสูบเลื่อนสู่ศูนย์ตายบนในจังห วะอัด ไอดีที่ถูกอัด จะมีมากกว่าอัตราปกติ ดังนั้นไอดีจึงมีมวลมากกว่าเครื่องยนต์ปกติ ถ้าเครื่องยนต์มีอัตราส่วนกำลังอัดสูงเกินขอบเขตของค วามเหมาะสม ไอดีที่ถูกอัดตัวแน่นก็จะเกิดความร้อนสูงกว่าปกติ และทำให้เครื่องยนต์เกิดการน็อก (ชิงจุดระเบิด) ได้ ดังนั้นเครื่องยนต์ที่ติดตั้งเทอร์โบจึงต้องมีอัตราส ่วนกำลังอัด ต่ำกว่าเครื่องยนต์ปกติ เมื่อถึงจังหวะอัดจะได้ไม่เกิดการน็อก ซึ่งถ้าเกิดการน็อกอย่างรุนแรง ลูกสูบ ก้านสูบ ก็จะได้รับความเสียหาย อัตราส่วนกำลังอัดที่เหมาะกับเครื่องยนต์เทอร์โบ ที่มีการควบคุมแรงดันเสริม (บูสท์) ไม่เกิน 7-10 PSI ควรจะมีอัตราส่วนกำลังอัดไม่เกิน 7.5 : 1 ? 9.0 : 1 วิธีลดอัตราส่วนกำลังอัด ก็สามารถทำได้โดยการเพิ่มปริมาตรห้องเผาไหม้ เช่น เพิ่มความหนาของประเก็นฝาสูบ โดยสั่งตัดพิเศษ หรือ นำมาซ้อนกันสองชั้น ในขณะเดียวกันถ้ากำลังอัดต่ำเกินไป ก็จะทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง และเครื่องยนต์ไม่มีกำลัง
น้ำมันเครื่องที่มาหล่อลื่นเทอรโบ มาจากไหน ?

สำหรับ เทอร์โบที่ติดตั้งเพิ่มเติม นิยมต่อมาใช้จากสวิตช์น้ำมันเครื่อง เพราะมีแรงดันของน้ำมันเครื่องอยู่ตลอดเวลา แรงดันสูงเท่ากับน้ำมันเครื่องที่ถูกปั๊มไปเลี้ยงส่ว นอื่นของเครื่องยนต์ โดยการถอดสวิตช์น้ำมันเครื่องออก และใส่ข้อต่อ 3 ทางแทน เพื่อให้ใส่สวิตช์น้ำมันเครื่องได้เหมือนเดิม ท่อที่ใช้ต่อควรจะเป็นแป๊ปเหล็ก เนื่องจากน้ำมันเครื่องที่จุดนี้มีแรงดันที่สูงมาก ไม่ควรใช้ท่อยางธรรมดาต่อ ในส่วนของท่อน้ำมันเครื่องไหลกลับเข้าสู่เครื่องยนต์ ปกติจะให้ไหลกลับลงอ่างน้ำมันเครื่องโดยเจาะรูติดตั้ งท่อไหลกลับ โดยตำแหน่งที่ต่อท่อจะต้องสูงกว่าระดับน้ำมันเครื่อง ในอ่างน้ำมันเครื่อง มิเช่นนั้นจะเกิดปัญหาน้ำมันเครื่องไหลกลับไม่ทัน แรงดันของน้ำมันเครื่องจะค้างอยู่ในตัวเทอร์โบ และจะถูกดันออกทางซีล
สำหรับ เครื่องเทอร์โบจากโรงงาน อาจจะต่อจากจุดอื่น